สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

Q&A

หน้าแรก / Q&A

รวมคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ ตอบทุกข้อสงสัยเพื่อสนับสนุนการวิจัยที่ปลอดภัยและมีจริยธรรม ด้วยข้อมูลที่เข้าใจง่าย ครบถ้วน และเชื่อถือได้ สำหรับนักวิจัยและผู้สนใจทุกท่าน

คำถามยอดนิยม

เรียนรู้หลักจริยธรรม แนวทางปฏิบัติ และขั้นตอนสำคัญที่ช่วยให้การวิจัยของคุณปลอดภัย ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ ผ่านคำถามยอดฮิตที่เรารวบรวมไว้เพื่อคุณ

สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.) คือหน่วยงานที่ทำงานเกี่ยวกับอะไร

สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.) เป็นหน่วยงานที่ทำงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการวิจัยในในมนุษย์ มุ่งพัฒนานโยบาย กฏหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน และบุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน สามารถเป็นเครื่องมือกลไกและทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักจริยธรรมสากลของการวิจัยในมนุษย์  

ภารกิจระยะยาว สำนักมีหน้าที่อย่างไรบ้าง

2.1 พัฒนาและเสนอนโยบายด้านการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย 2.2 กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และแนวทางการศึกษาวิจัยในมนุษย์ในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรและหลักเกณฑ์สากล 2.3 ส่ง เสริม พัฒนา กำกับ ดูแล และรับรอง การดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของสำนักและหน่วยงานต่างๆในประเทศ 2.4 แต่งตั้งและสนับสนุนการดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ในระดับชาติ เพื่อพิจารณาโครงการวิจัยพหุสถาบันและโครงการพัฒนายา ชีววัตถุ และวิธีการรักษาที่มผลกระทบระดับชาติโดยถือเป็นคณะกรรมการในระดับชาติ  

ภารกิจระยะสั้น สำนักมีบทบาทหน้าที่อย่างไรบ้าง

ยกร่างพระราชบัญญัติการวิจัยในมนุษย์ เพื่อเสนอต่อรัฐบาลและรัฐสภาเพื่อให้มีกฏหมายควบคุมดูแลการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย ทั้งนี้เพื่อเป็นกลไกสำคัญในการคุ้มครองอาสาสมัครในมนุษย์อย่างเหมาะสม และส่งเสริมการวิจัยที่มีคุณภาพ มาตรฐาน  

หลักการการทำงานของ สคม.

1. Fill the gap- เน้นการพัฒนาส่วนขาดของระบบการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย 2. Togetherness- เน้นความร่วมมือกับองค์กร หน่วยงาน สถาบันทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 3. Holistic –เน้นการส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรมครบวงจร  

Q&A

รวมคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ ตอบทุกข้อสงสัยเพื่อสนับสนุนการวิจัยที่ปลอดภัยและมีจริยธรรม ด้วยข้อมูลที่เข้าใจง่าย ครบถ้วน

สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.) เป็นหน่วยงานที่ทำงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการวิจัยในในมนุษย์ มุ่งพัฒนานโยบาย กฏหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน และบุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน สามารถเป็นเครื่องมือกลไกและทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักจริยธรรมสากลของการวิจัยในมนุษย์  

ยกร่างพระราชบัญญัติการวิจัยในมนุษย์ เพื่อเสนอต่อรัฐบาลและรัฐสภาเพื่อให้มีกฏหมายควบคุมดูแลการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย ทั้งนี้เพื่อเป็นกลไกสำคัญในการคุ้มครองอาสาสมัครในมนุษย์อย่างเหมาะสม และส่งเสริมการวิจัยที่มีคุณภาพ มาตรฐาน  

2.1 พัฒนาและเสนอนโยบายด้านการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย 2.2 กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และแนวทางการศึกษาวิจัยในมนุษย์ในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรและหลักเกณฑ์สากล 2.3 ส่ง เสริม พัฒนา กำกับ ดูแล และรับรอง การดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของสำนักและหน่วยงานต่างๆในประเทศ 2.4 แต่งตั้งและสนับสนุนการดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ในระดับชาติ เพื่อพิจารณาโครงการวิจัยพหุสถาบันและโครงการพัฒนายา ชีววัตถุ และวิธีการรักษาที่มผลกระทบระดับชาติโดยถือเป็นคณะกรรมการในระดับชาติ  

1. Fill the gap- เน้นการพัฒนาส่วนขาดของระบบการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย 2. Togetherness- เน้นความร่วมมือกับองค์กร หน่วยงาน สถาบันทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 3. Holistic –เน้นการส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรมครบวงจร