Institute for the Development of Human Research Protections (IHRP) , Health Systems Research Institute (HSRI)

Research Proposal Submission

สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์: มุ่งมั่นยกระดับมาตรฐานจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ด้วยการคุ้มครองอาสาสมัครวิจัยอย่างครอบคลุม สร้างความปลอดภัยและความมั่นใจในทุกกระบวนการวิจัย พร้อมส่งเสริมความร่วมมือระดับชาติและสากล เพื่อการพัฒนางานวิจัยที่มีคุณภาพและยั่งยืน

อัตราค่าบริการทบทวนจริยธรรม
อัตราค่าบริการทบทวนจริยธรรม
ขั้นตอนการยื่นโครงการวิจัย
ขั้นตอนการยื่นโครงการวิจัย
ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
E-Submission Online
E-Submission Online

Research Request Process

เริ่มต้นงานวิจัยของคุณอย่างมั่นใจ ด้วยขั้นตอนการขออนุมัติที่ง่ายและชัดเจน เราพร้อมแนะนำทุกกระบวนการ ตั้งแต่การเตรียมเอกสารจนถึงการอนุมัติ เพื่อให้คุณดำเนินงานวิจัยได้อย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรม

  • อัตราค่าบริการทบทวนจริยธรรม
    อัตราค่าบริการทบทวนจริยธรรม

    ขั้นตอนที่ 1

  • ขั้นตอนการยื่นโครงการวิจัย
    ขั้นตอนการยื่นโครงการวิจัย

    ขั้นตอนที่ 2

  • ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
    ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม

    ขั้นตอนที่ 3

  • E-Submission Online
    E-Submission Online

    ขั้นตอนที่ 4

NEWS

ติดตามทุกข่าวสารและกิจกรรมที่สำคัญจากองค์กรของเรา เพื่ออัปเดตข้อมูลความเคลื่อนไหวในวงการวิจัยและการคุ้มครองจริยธรรมในมนุษย์อย่างใกล้ชิด ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนความก้าวหน้าและพัฒนาคุณภาพงานวิจัยที่มีมาตรฐาน พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในจริยธรรมการวิจัยสำหรับทุกภาคส่วน องค์กรของเรายังคงมุ่งมั่นเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์และเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือในระดับชาติและสากลอย่างต่อเนื่อง

ประชุม EC 4/2568

ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ ครั้งที่ 4/2568 วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2568 เวลา 09.00 น.(ปิดรับการส่งเอกสารวันที่ 13 มีค68)

View Details 2025 Apr 17
ปิดรับโครงการ 5/2568

ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ ครั้งที่ 5/2568 (แจ้งกำหนดการประชุมอีกครั้ง) กำหนดส่งเอกสารภายในวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2568 เวลา 16.00 น.

View Details 2025 Apr 11
ปิดรับโครงการ

ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ ครั้งที่ 4/2568 (แจ้งกำหนดการประชุมอีกครั้ง) กำหนดส่งเอกสารภายในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2568 เวลา 16.00 น.

View Details 2025 Mar 13
ประชุม EC 3/2568

ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ ครั้งที่ 3/2568 วันอังคารที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2568 เวลา 13.00 น. (ปิดรับการส่งเอกสาร)

View Details 2025 Mar 11
ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ครั้งที่ 2/2568

ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ ครั้งที่ 2/2568 วันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 เวลา 09.00 น. (ปิดรับการส่งเอกสาร)

View Details 2025 Feb 27
กำหนดส่งโครงการ 3/2568

ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ฯ ครั้งที่ 3/2568 (แจ้งกำหนดการประชุมอีกครั้ง) กำหนดส่งเอกสารภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 เวลา 16.00 น.

View Details 2025 Feb 20
ประชุม ทดสอบ 23

ประชุม ทดสอบ 23

View Details 2025 Jan 08

สมัครสมาชิกรับข่าวสาร

ไม่พลาดทุกความเคลื่อนไหว

Q&A

ไขทุกข้อสงสัยเกี่ยวกับงานวิจัยและการคุ้มครองจริยธรรมในมนุษย์ ผ่าน Q&A ที่รวบรวมคำตอบที่ชัดเจน ครอบคลุม และเข้าใจง่าย พร้อมช่วยคุณแก้ปัญหาและก้าวสู่การวิจัยที่มีคุณภาพอย่างมั่นใจ ทุกคำถามสำคัญ ทุกคำตอบที่คุณต้องการ อยู่ที่นี่!

สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สคม.) เป็นหน่วยงานที่ทำงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการวิจัยในในมนุษย์ มุ่งพัฒนานโยบาย กฏหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน และบุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน สามารถเป็นเครื่องมือกลไกและทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักจริยธรรมสากลของการวิจัยในมนุษย์  

ยกร่างพระราชบัญญัติการวิจัยในมนุษย์ เพื่อเสนอต่อรัฐบาลและรัฐสภาเพื่อให้มีกฏหมายควบคุมดูแลการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย ทั้งนี้เพื่อเป็นกลไกสำคัญในการคุ้มครองอาสาสมัครในมนุษย์อย่างเหมาะสม และส่งเสริมการวิจัยที่มีคุณภาพ มาตรฐาน

2.1 พัฒนาและเสนอนโยบายด้านการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย 2.2 กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และแนวทางการศึกษาวิจัยในมนุษย์ในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรและหลักเกณฑ์สากล 2.3 ส่ง เสริม พัฒนา กำกับ ดูแล และรับรอง การดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของสำนักและหน่วยงานต่างๆในประเทศ 2.4 แต่งตั้งและสนับสนุนการดำเนินการของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ในระดับชาติ เพื่อพิจารณาโครงการวิจัยพหุสถาบันและโครงการพัฒนายา ชีววัตถุ และวิธีการรักษาที่มผลกระทบระดับชาติโดยถือเป็นคณะกรรมการในระดับชาติ  

1. Fill the gap- เน้นการพัฒนาส่วนขาดของระบบการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทย 2. Togetherness- เน้นความร่วมมือกับองค์กร หน่วยงาน สถาบันทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 3. Holistic –เน้นการส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรมครบวงจร  

Promote high-quality and standardized research.

มุ่งพัฒนานโยบาย กฏหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน และบุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน สามารถเป็นเครื่องมือกลไกและทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักจริยธรรมสากลของการวิจัยในมนุษย์

โครงการใหม่

+ 5,000

โครงการใหม่

โครงการได้รับอนุมัติ

+ 7,000

โครงการได้รับอนุมัติ

โครงการต่อเนื่อง

+280

โครงการต่อเนื่อง